เราคือ ตัวแทนของท่าน ช่วยประสานงานกับด่านศุลกากรต่างๆ และมีชิปปิ้งประจำด่านนั้นๆ (โดยเฉพาะ ด่านอมตะซิตี้ ระยอง เรามีสำนักงานสาขาอยู่ที่ด่าน เพราะ โรงงานส่วนใหญ่ที่นี้ใช้บริการของเราเป็นประจำ )ให้บริการ จัดทำเอกสาร ใบขนสินค้าทั้งขาเข้า-ขาออก และผ่านพิธีการศุลกากร แบบมืออาชีพ รวดเร็ว ถูกต้อง ค่าบริการถูก                                                                                                                                                                                                                                                                           
 






 




 

 อัตราแลกเปลี่ยนของกรมศุลกากร


 

 

         ศุลกากร  

 ศูนย์บริการศุลกากร

  ค้นหาพิกัดศุลกากร

    E-TRACKING


ส่วนบริการศุลกากรไปรษณีย์


ติดต่อ ท๊อป ซัคเซสส์

02-7303005#201

565 สุขุมวิท93 บางจาก

พระโขนง กรุงเทพฯ

  

E-mail 

[email protected]

 
 สถิติวันนี้ 45 คน
 สถิติเมื่อวาน 12 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
331 คน
31478 คน
810578 คน
เริ่มเมื่อ 2012-11-07


ยินดีให้คำแนะนำตอบคำถามและรับฟังความคิดเห็น
การนำเข้าส่งออก มีข้อกำหนดปลีกย่อยมาก เมื่อมีคำสั่งประกาศออกมาใหม่ คำตอบในนี้ก็อาจจะกลายเป็นคำตอบที่ผิดครับ


การนำเข้าที่ไม่ลงทะเบียนกับศุลกากร

ถ้าอยากนำเข้าสินค้าประเภทเสื้อผ้าแต่จำนวนในการนำเข้าไม่มากและไม่เคยลงทะเบียนผู้นำเข้านำเข้าโดยเป็นบุคคลธรรมดา สามารถทำได้ไหมที่จะหาบริษัทที่ลงทะเบียนกับศุลกากรแล้วแต่ชนิดสินค้าไม่เหมือนกันกับบริษัทที่จะเป็นคนรับสินค้าให้ มีข้อดี ข้อเสียอย่างไรกับการที่ต้องลงทะเบียนเป็นผู้นำเข้าเอง


 

โดย youjin อี-เมล์ youjin เบอร์โทรศัพท์. youjin IP: xxx [ 2011-01-15 ]

คำตอบจาก Webmaster

ผมคิดว่าถามว่า ถ้าจะนำเข้ามาโดยฝากสินค้ามากับผู้นำเข้าที่ขึ้นทะเบียนกับศุลกากรไว้แล้วแต่ บริษํทนั้นปกตินำเข้าสินค้าประเภทอื่น เหตุผลเพราะคุณไม่ต้องการขี้นทะเบียนกับศุลกากร  ถ้าใช่


-สามารถทำได้ เพราะศุลกากรไม่เคยจำกัดว่าการขึ้นทะเบียนแล้วจะต้องนำเข้าสินค้าเฉพาะอย่าง หรือเคยนำเข้าสินค้าแบบนี้แล้วห้ามนำเข้าสินค้าแบบอื่นๆอีก


ข้อดีในการขึ้นทะเบียนเองคือ ไม่ต้องอาศัยคนอื่น อาศัยเขาก็ต้องจ่ายเงินให้เขาด้วย เป็นการซื้อของผ่าน นายหน้า

โดยคุณ ป้อม [ 2011-01-15 ] ตอบ 147
คำตอบในนี้มาจากประสพการณ์ทำงานกว่า20ปี แต่กฏระเบียบการนำเข้า-ส่งออกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ จึงเป็นสาเหตุให้ ไม่สามารถนำไปอ้างอิงใดๆได้


Copyright (c) 2009 by topsuccess.co.,ltd