เราคือ ตัวแทนของท่าน ช่วยประสานงานกับด่านศุลกากรต่างๆ และมีชิปปิ้งประจำด่านนั้นๆ (โดยเฉพาะ ด่านอมตะซิตี้ ระยอง เรามีสำนักงานสาขาอยู่ที่ด่าน เพราะ โรงงานส่วนใหญ่ที่นี้ใช้บริการของเราเป็นประจำ )ให้บริการ จัดทำเอกสาร ใบขนสินค้าทั้งขาเข้า-ขาออก และผ่านพิธีการศุลกากร แบบมืออาชีพ รวดเร็ว ถูกต้อง ค่าบริการถูก                                                                                                                                                                                                                                                                           
 






 




 

 อัตราแลกเปลี่ยนของกรมศุลกากร


 

 

         ศุลกากร  

 ศูนย์บริการศุลกากร

  ค้นหาพิกัดศุลกากร

    E-TRACKING


ส่วนบริการศุลกากรไปรษณีย์


ติดต่อ ท๊อป ซัคเซสส์

02-7303005#201

565 สุขุมวิท93 บางจาก

พระโขนง กรุงเทพฯ

  

E-mail 

[email protected]

 
 สถิติวันนี้ 40 คน
 สถิติเมื่อวาน 63 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
1031 คน
5323 คน
784423 คน
เริ่มเมื่อ 2012-11-07

การส่งออก ในเทอมการส่งออกแบบ FOB (ผู้ขายต้นทางในไทยจะไม่จ่าย ค่าเฟรท และ ค่าประกันภัย ) ผู้ซื้อต่างประเทศเป็นต้องต้องผู้จ่าย และเป็นผู้หาบริษัทตัวแทนสายเรือ โดยแจ้ง ชื่อและเบอร์โทรติดต่อของตัวแทนเอเยนต์เรือในไทย ให้กับเราเพื่อที่เราจะได้Book เที่ยวเรือเพื่อจองเฟรทเรือ และนำสินค้าไปส่งที่ท่าเรือ จะมีค่าใช้จ่ายดังนี้

-ถ้ายังไม่เคยขึ้นทะเบียนเป็นผู้ส่งออกกับศุลกากรต้องไปขึ้นทะเบียน ในระบบ PAPERLESS ในครั้งแรก

1.สินค้าส่งออกส่วนใหญ่ได้รับการส่งเสริมให้ส่งออกจะไม่เสียภาษียกเว้นพวก ไม้ ข้าว เศษหนังโค น้ำมัน

2.ค่ารับ B/L (ค่า นำสินค้าในท่าเรือขึ้นไปบนเรื่อ และ ออกเอกสารรับรองว่าได้รับสินค้าแล้ว ของเอเยนต์เรือ)

 2.1.1  ตู้20ฟุต ( ตู้สั้น ) ประมาณ 4,000 -5,000บาทขึ้นไปเป็นอย่างน้อย

 2.1.2  ตู้40ฟุต (ตู้ยาว ) ประมาณ 5,000-6,000บาท ขึ้นไปเป็นอย่างน้อย

 2.1.3  LCL ( ไม่เต็มตู้ ) เริ่มต้นจำนวนสินค้า 1 CBM จะอยู่ประมาณ 3,500 - 4,500 บาท ส่วนที่เกิน ประมาณ CBM ละประมาณ1,500 บาท แต่ละบริษัทไม่เท่ากัน ราคาอยู่ที่การต่อรองกันเอง)

3.ค่าภาระท่าเรือ เช่นท่าเรือ คลองเตย  FCL , LCL

4.ค่ารถไปรับสินค้า หรือ รับตู้คอนเทนเนอร์ ไปรับสินค้าที่โรงงาน และส่งมาที่ท่าเรือ เพื่อเตรียมยกสินค้าลงเรือ

5.ค่าธรรมเนียมศุลกากร ใบขนละ 200 บาท

6.ค่าบริการชิปปิ้ง

7.ค่ายกสินค้าเข้าตู้

8.ค่าขอใบอนุญาติ เช่น FORM C/O ต่างๆ

9.ค่าล่วงเวลา

การส่งออกแบบ LCL ไม่เต็มตู้ ควรจะรู้ว่าสินค้าของเรามีจำนวนกี่คิวบิตรเมตร ( 1คิวบิตรเมตร=กว้าง 1 เมตร x ยาว 1 เมตร x สูง 1 เมตร )

............................................................................................................

การคำนวนหาจำนวน คิวบิตเมตร เพือจะได้รู้ว่าสินค้าของเราที่จะส่งออก จะมีจำนวนคิวบิตเมตรเท่าไร ใช้ในการคำนวนค่าเฟรท

สูตร กว้าง x ยาว x สูง (เป็น เซินติเมตร ) x จำนวนกล่อง แล้วหารด้วย 1,000,000   = คิวบิตเมตร


การส่งออกแบบ FCL เต็มตู้ เป็นการส่งออกโดยเหมาตู้ไปเองคนเดียว

ขนาดตู้ 20' จะใส่ของได้ประมาณ 28 - 32 CBM

ขนาดตู้ 40' จะใส่ของได้ประมาณ 56 - 64 CBM

 


คลิ๊กนี้มีความหมาย

Copyright (c) 2009 by topsuccess.co.,ltd