เราคือ ตัวแทนของท่าน ช่วยประสานงานกับด่านศุลกากรต่างๆ และมีชิปปิ้งประจำด่านนั้นๆ (โดยเฉพาะ ด่านอมตะซิตี้ ระยอง เรามีสำนักงานสาขาอยู่ที่ด่าน เพราะ โรงงานส่วนใหญ่ที่นี้ใช้บริการของเราเป็นประจำ )ให้บริการ จัดทำเอกสาร ใบขนสินค้าทั้งขาเข้า-ขาออก และผ่านพิธีการศุลกากร แบบมืออาชีพ รวดเร็ว ถูกต้อง ค่าบริการถูก                                                                                                                                                                                                                                                                           
 






 




 

 อัตราแลกเปลี่ยนของกรมศุลกากร


 

 

         ศุลกากร  

 ศูนย์บริการศุลกากร

  ค้นหาพิกัดศุลกากร

    E-TRACKING


ส่วนบริการศุลกากรไปรษณีย์


ติดต่อ ท๊อป ซัคเซสส์

02-7303005#201

565 สุขุมวิท93 บางจาก

พระโขนง กรุงเทพฯ

  

E-mail 

[email protected]

 
 สถิติวันนี้ 1 คน
 สถิติเมื่อวาน 59 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
1717 คน
6009 คน
785109 คน
เริ่มเมื่อ 2012-11-07


ยินดีให้คำแนะนำตอบคำถามและรับฟังความคิดเห็น
การนำเข้าส่งออก มีข้อกำหนดปลีกย่อยมาก เมื่อมีคำสั่งประกาศออกมาใหม่ คำตอบในนี้ก็อาจจะกลายเป็นคำตอบที่ผิดครับ


ต้องการส่งผ้าไหมไปขาย
ขอคำแนะนำการนำผ้าไหมออกไปขายคะ
จะไปหาซื้อจากแหล่งผลิต และจะขายเองในบ้านที่เราพักอยู่ (เยอรมัน)
ยังไม่ได้จดทะเบียนเป็นบริษัทคะ
ต้องการขายสินค้าประเภทผ้าไหม ดอกไม้ที่ผลิตจากไหม ของแต่งบ้าน เครื่องประดับ ต้องเริ่มต้นจากที่ไหนก่อนคะ
สามารถนำผ้าไหมออกไปเอง สามารถนำออกไปได้ครั้งละเท่าไร สามารถขอ vat ได้ไหมเวลาที่บินออก
โดย อนาคตใหม่ (ip49.228.193.211) อี-เมล์ อนาคตใหม่ (ip49.228.193.211) เบอร์โทรศัพท์. อนาคตใหม่ IP: xxx [ 2011-06-13 ]

คำตอบจาก Webmaster

การนำสินค้าออกไปขาย รัฐบาลเราส่งเสริมอยู่แล้ว สามารถนำออกไปได้ ทั้งในแบบ บุคล หรือ บริษัท เรื่อง VAT เคยคุยกับคนที่รับทำบัญชี เขาบอกว่าสามารถ เคดิษVAT ได้ รายละเอียด ผมไม่ทราบ


*** ปัญหาคือ ตอนนำเข้าที่ เยอรมัน คุณต้องไปหาข้อมูลกับพวกบริษัทที่รับนำเข้าสินค้า ในประเทศเยอรมัน ว่าต้องทำอย่างไร มีข้อกำหนด อย่างไร เช่น มีโคต้า หรือไม่ ต้องขอใบรับรองอะไรบ้าง  ศึกษาในเรื่อง FORM A อาจสามารถลดหย่อนภาษีนำเข้าที่ เยอรมันได้

โดยคุณ ป้อม [ 2011-06-14 ] ตอบ 251
คำตอบในนี้มาจากประสพการณ์ทำงานกว่า20ปี แต่กฏระเบียบการนำเข้า-ส่งออกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่บ่อยๆ จึงเป็นสาเหตุให้ ไม่สามารถนำไปอ้างอิงใดๆได้


Copyright (c) 2009 by topsuccess.co.,ltd